วัลลภ ลำพาย (2547 : 178)
กล่าวว่า ส่วนนี้เป็นส่วนที่ประกอบด้วยรายการเอกสารต่าง ๆ
ที่ได้อ้างอิงไว้ในวิทยานิพนธ์หรือรายงานการวิจัย
เอกสารทุกเล่มที่อ้างอิงไว้ในส่วนของเนื้อหาจะต้องปรากฏอยู่ในเอกสารอ้างอิง
การจัดลำดับของเอกสารอ้างอิงนั้น จัดลำดับตามตัวอักษรของชื่อผู้แต่ง
ซึ่งถ้าเป็นภาษาไทยจะเป็นชื่อต้น แต่ถ้าเป็นภาษาต่างประเทศจะเป็นชื่อท้าย
จัดลำดับเอกสารภาษาไทยก่อนแล้วตามด้วยภาษาต่างประเทศ
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2544 : 389) กล่าว
ว่า เป็นรายชื่อเอกสารหนังสือ
สิ่งพิมพ์และวัสดุอ้างอิงทั้งหมดที่ผู้วิจัยนำมาใช้ประกอบการเขียน
ศึกษาค้นคว้าและอ้างอิงในงานวิจัยของตน
เพื่อเป็นหลักฐานยืนยันว่าการเขียนรายงานการวิจัยเป็นการศึกษาค้นคว้าจาก
แหล่งที่เชื่อถือได้
โดยรวบรวมไว้ตอนท้ายของรายงานเพื่อเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจได้ติดตาม
ศึกษาเพิ่มเติมจากเอกสารเหล่านั้น
สรุป
การ
เขียนรายงานการวิจัยเมื่อได้อ้างอิงแหล่งข้อมูลมาสนับสนุนในเนื้อเรื่องแล้ว
เมื่อจบรายงาน การวิจัยจะต้องรบกวนหนังสือ
เอกสารและหลักฐานที่เป็นแหล่งข้อมูลทั้งหมดไว้ด้วยกันท้ายรายงาน
ซึ่งรายการหนังสือทั้งหลายที่รวบรวมไว้นี้ เรียกว่า บรรณานุกรม หรือ
เอกสารอ้างอิง
อ้างอิง
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ศูนย์
หนังสือราชภัฏพระนคร. เข้าถึงเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2555
หนังสือราชภัฏพระนคร. เข้าถึงเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2555
วัลลภ ลำพาย. (2547). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์. เข้าถึงเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2555
มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์. เข้าถึงเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2555
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2538). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์
ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ :สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. เข้าถึงเมื่อ
26 พฤศจิกายน 2555
ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ :สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. เข้าถึงเมื่อ
26 พฤศจิกายน 2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น